บทความวิชาการ

Governance by Women Leaders in Union Parishad in Bangladesh: Unheard Voices from the Grassroots (ธรรมาภิบาลโดยผู้นำหญิงในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Union Parishad) ของประเทศบังคลาเทศ: เสียงที่ไม่ได้ยินจากรากหญ้า)

UnionParishad(UP)ก่อตั้งขึ้นในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับล่างสุดของประเทศบังคลาเทศตั้งแต่ปี1870เริ่มมีการเสนอชื่อผู้แทนหญิงครั้งแรกในปี1976และมีแรงผลักดันให้มีผู้แทนหญิงผ่านการออกเสียงเลือกตั้งโดยตรงในปี1997ตลอดระยะเวลากว่าทศวรรษผู้นำหญิงเหล่านี้ไม่สามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารองค์กรได้อย่างเต็มที่และต้องเผชิญกับอุปสรรคนานับประการที่แฝงอยู่ในระบบแต่ผลพวงของการกีดกันดังกล่าวไม่สามารถทำให้ผู้นำหญิงเหล่านี้ลดละความพยายามผลักดันให้เกิดธรรมาภิบาลขึ้นงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายในการค้นหาคำตอบว่าผู้นำหญิงช่วยผลักดันการสร้างธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของบังคลาเทศหรือไม่และอย่างไรโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะค้นหาองค์ประกอบที่ผลักดันการสร้างธรรมภิบาลในกิจการขององค์กรโดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพแนวปรากฏการณ์วิทยาเทคนิคการสนทนากลุ่มการศึกษารายกรณีการวิเคราะห์เนื้อหาและการสังเกตการณ์ผลการวิจัย พบว่า ผู้นำหญิงสามารถผลักดันให้เกิดธรรมภิบาลโดยการสร้างความโปร่งใสมีความรับผิดชอบในหน้าที่มีความเป็นธรรมในสังคมและการลดการทุจริตในองค์กรทั้งนี้การวิจัยยังพบว่าผู้นำหญิงพยายามที่จะปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่นโดยการเพิ่มผลประโยชน์ให้แก่ผู้ยากไร้ในชุมชนและยกระดับคุณภาพโครงการพัฒนาต่างๆให้ดียิ่งขึ้นเป็นที่ประจักษ์ว่าองค์ประกอบที่สนับสนุนธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมาจากการปรับใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมความจริงใจและความซื่อสัตย์ของผู้นำหญิงในองค์กรที่กล่าว

Union Parishad (UP) has been serving as the lowest rural local government in Bangladesh since 1870. Women’s representation in the UP first began with the nomination system in 1976. Again women’s representation in the UP received further momentum in 1997 with the provision of direct adult franchise. Within these 2 decades time span, women leaders (WLs) have failed to ensure their effective participation in the UP. But it is deemed that through their ceaseless struggle and limited participation, WLs have contributed to governance in the UP. Against such a context, the paper is aimed at unraveling the research questions: how do WLs contribute to governance in the UP in Bangladesh? The paper is based on qualitative research methods that include hermeneutic phenomenological analysis, Focus Group Discussions (FGDs), case study, content analysis and observation methods. The findings of the paper reveal that the WLs are promoting governance though establishing transparency, accountability, social justice and reducing corruption in the UP. WLs are also trying to transform rural governance through increasing pro-poor benefits for the community people and maintaining better quality of development projects and following participative management style in the UP.


ชื่อผู้แต่ง : Mizanur Rahman
คำสำคัญ : local government, Union Parishad, women leaders, transparency, accountability
ประเภท : การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
พ.ศ. : 2558   ปีที่ : 55   ปีที่ : 2  

© 2015 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | National Institute of Development Administration. All rights reserved.
118 หมู่ที่ 3 ถนนเสรีไทย แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 Tel: 0-2727-3000 Fax: 0-2375-8798 E-mail: prnida@nida.ac.th